ยาต้าน covid-19 ไวรัสโคโรนา

เตรียมเลิกใช้เครื่องวัดอุณหภูมิ ทุกสถานที่ สธ. ชี้ไร้ประสิทธิภาพ ให้ผลบวก-ลบปลอม

สธ. ชง ศบค. ยกเลิกใช้เครื่องวัดอุณหภูมิร่างกาย สนามบิน และต่างสถานที่ต่าง ๆ คัดกรองผู้ป่วยโควิด 19 ชี้ไม่มีประสิทธิภาพ ให้ผลบวกและลบปลอม ไม่พบหลักฐานช่วยป้องกันการแพร่โรคได้ นพ.รุ่งเรือง กิจผาติ หัวหน้าที่ปรึกษาระดับกระทรวง และประธานคณะกรรมการประมวลสถานการณ์โรคโควิด 19 กระทรวงสาธารณสุข (MIU) เปิดเผยว่า...
Read More

สธ.ระบุ ไม่ใช่ “โควิดสายพันธุ์ไทย”

สธ.ระบุ ไม่ใช่ "โควิดสายพันธุ์ไทย" แค่ไทยตรวจเจอประเทศแรกจากคนมาจากอียิปต์ และอยู่ในสถานที่กักกัน เทียบเคียงกรณีสายพันธุ์บราซิล ก็ตรวจเจอที่แรกที่ญี่ปุ่น เมื่อวันที่ 28 พ.ค.2564 นพ.โอภาส การย์กวินพงศ์ อธิบดีกรมควบคุมโรค กล่าวว่า รายงานจากนพ.ศุภกิจ ศิริลักษณ์ อธิบดีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ว่า ขณะนี้ยังไม่พบ การกลายพันธุ์ของโควิดสายพันธุ์ไทย อย่างไรก็ตามขณะนี้ยังต้องมีการติดตามรายละเอียดเพิ่มเติม ด้าน นพ.ศุภกิจ...
Read More

เปิดราคาวัคซีนโควิด 19 โมเดอร์นา เร่งให้ทันไตรมาสที่ 3

นายกสมาคมโรงพยาบาลเอกชน เปิดเผยถึงความคืบหน้าการนำเข้าวัคซีนโควิด 19 ทางเลือก ซึ่งจะมีการนำเข้าวัคซีนโมเดอร์นาเข้ามา โดยเป็นการซื้อผ่านองค์การเภสัชกรรมว่า ในสัปดาห์หน้าจะมีความชัดเจนเกี่ยวกับการสั่งซื้อ เบื้องต้นได้มีข้อตกลงกับตัวแทนจำหน่ายวัคซีนโมเดอร์นาว่าจะสามารถจัดหาโควตาวัคซีนได้เพิ่มเป็น 10 ล้านโดส   นพ.เฉลิม กล่าวต่อว่า โดยจะทยอยนำเข้ามาผ่านองค์การเภสัชกรรม และขายต่อให้กับโรงพยาบาลเอกชน คาดว่าการเปิดให้บริการฉีดวัคซีนโมเดอร์นาของโรงพยาบาลเอกชนจะทำได้เร็วกว่ากำหนดเดิมในเดือนตุลาคม 2564 โดยจะเร่งขึ้นมาเป็นในช่วงไตรมาส 3/2564 ทั้งนี้สำหรับราคาค่าบริการฉีดวัคซีนของโรงพยาบาลเอกชนนั้น เบื้องต้นค่าบริการฉีดวัคซีน...
Read More

วิธีเตรียมตัวฉีดวัคซีนโควิด-19

โดยปกติเมื่อเชื้อโรคทุกชนิดเข้าสู่ร่างกาย ร่างกายจะมีวิธีจัดการเชื้อหลายแบบ หนึ่งในนั้นคือเม็ดเลือดขาวชนิด Macrophage จะกลืนเชื้อเข้าไปและทิ้งเศษซากเชื้อบางส่วนไว้เรียกว่า แอนติเจน (Antigen) ร่างกายจะรับรู้ว่าแอนติเจนคือสิ่งแปลกปลอมและจะสร้างแอนติบอดี (Antibody) มาจัดการสิ่งแปลกปลอมนั้น รวมถึงมีเม็ดเลือดขาวอีกชนิดหนึ่งที่จำว่าเชื้อโรคนี้คือสิ่งแปลกปลอม ถ้าหากได้รับเชื้อในอนาคตร่างกายจะสามารถจดจำและจัดการได้ การทำงานของวัคซีนเป็นไปในลักษณะเดียวกัน วัคซีนป้องกันโควิด-19 จะช่วยกระตุ้นให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันต่อเชื้อไวรัสนี้ขึ้นมา ช่วยป้องกันการติดเชื้อหากได้รับเชื้อในอนาคต แต่ต้องใช้เวลาระยะหนึ่งหลังฉีดวัคซีนร่างกายจึงจะสร้างภูมิคุ้มกันขึ้นมาได้ การฉีดวัคซีนผู้รับวัคซีนยังต้องปฏิบัติตามมาตรการป้องกันโควิด-19 อย่างเคร่งครัด เช่น ใส่หน้ากากอนามัย...
Read More

สหรัฐส่งออกวัคซีนโควิดเพิ่ม 20 ล้านโดสช่วยเหลือประเทศต่างๆ

บริษัทยาของสหรัฐ ซึ่งได้แก่ ไฟเซอร์-บิออนเทค, โมเดอร์นา และจอห์นสัน แอนด์ จอห์นสัน กำลังเร่งผลิตวัคซีนป้องกันโรคโควิด-19 ต่อสัปดาห์ให้ได้เพิ่มมากขึ้น ซึ่งเป็นความคืบหน้าที่จะช่วยเร่งการดำเนินงานของโครงการฉีดวัคซีนในสหรัฐ ประธานาธิบดีโจ ไบเดนของสหรัฐ ประกาศจะมอบวัคซีนต้านโควิด-19 แก่ประเทศต่างๆ เพื่อควบคุมการระบาดของโรคโควิด-19 ภายในสิ้นเดือนมิ.ย.นี้ ถือเป็นครั้งแรกที่สหรัฐจะส่งออกวัคซีนที่ใช้ในประเทศแล้วไปยังประเทศอื่น หลังอุปทานเริ่มพุ่งสูงกว่าอุปสงค์ โดยยาที่จะส่งออกมีทั้งของบริษัทไฟเซอร์ โมเดอร์นา และจอห์นสัน แอนด์ จอห์นสัน ซึ่งเป็นการส่งออกเพิ่มจากวัคซีนของแอสตราเซนเนก้า ที่ปธน.ไบเดน...
Read More

UK เร่งรัดฉีดวัคซีนต้านโควิด-19

สหราชอาณาจักรพบผู้ติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่รายวันเพียง 2,027 คน ส่วนหนึ่งจากโครงการเร่งรัดฉีดวัคซีนต้านโควิด-19 ส่งผลให้ยอดผู้ติดเชื้อสะสมของประเทศแห่งนี้เพิ่มเป็น 4,448,851 ราย จากตัวเลขอย่างเป็นทางการที่เผยแพร่เมื่อวันเสาร์ (15 พ.ค.) ประเทศแห่งนี้ยังรายงานพบผู้เสียชีวิตจากโควิด-19 เพิ่มเติมอีก 7 ราย ยอดรวมผู้เสียชีวิตอยู่ที่ 127,675 คน แม้ตัวเลขออกมาในแง่บวก แต่พวกผู้เชี่ยวชาญเตือนว่าขั้นต่อไปของการผ่อนปรนข้อจำกัดล็อกดาวน์ในอังกฤษที่กำหนดไว้ในวันจันทร์ (17...
Read More

อัปเดตวัคซีนถูกจองคิวฉีดวัคซีนแล้ว 1.4 ล้านราย

ความคืบหน้าลงทะเบียน “หมอพร้อม” ประชาชนอายุ 60 ปีขึ้นไป และผู้ป่วย 7 กลุ่มโรคเรื้อรัง จองคิวฉีดวัคซีนแล้ว 1.4 ล้านราย วันที่ 6 พ.ค. 2564 ผู้สื่อข่าวรายงานว่าเฟซบุ๊ก “หมอพร้อม” มีการรายงานความคืบหน้าตัวเลขผู้ลงทะเบียนจองคิวเพื่อฉีดวัคซีนในกลุ่มของผู้ที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป และผู้ป่วย 7...
Read More

วัคซีนโควิด-19″หญิงตั้งครรภ์”ควรฉีดหรือไม่?

กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข เผยผลสำรวจพบหญิงตั้งครรภ์ติดเชื้อโควิด-19 จำนวน 77 ราย ส่วนใหญ่ ไม่มีอาการ และพบการติดเชื้อในไตรมาสสุดท้ายของการตั้งครรภ์ถึงร้อยละ 81.5  แนะนำหญิงตั้งครรภ์ควรฉีดวัคซีนป้องกัน แต่ให้เหมาะควรฉีดช่วงหลังอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ พร้อมย้ำป้องกันตัวเองต่อเนื่อง สวมหน้ากาก เว้นระยะห่าง ล้างมือ นายแพทย์สุวรรณชัย วัฒนายิ่งเจริญชัย...
Read More

วิกฤตโควิดในอินเดียเกี่ยวข้องกับคนทั้งโลกอย่างไร

ภาพคนอินเดียจำนวนมากกำลังล้มตายจากการระบาดของโควิด-19 ระลอกที่สองในอินเดีย ได้สร้างความตกตะลึงและสลดใจให้คนทั่วโลก ขณะนี้ยอดผู้เสียชีวิตจากโควิด-19 ของอินเดียทะลุหลัก 200,000 คนแล้ว โดยสูงเป็นอันดับ 4 ของโลกรองจากสหรัฐฯ บราซิล และเม็กซิโก แต่บรรดาผู้เชี่ยวชาญชี้ว่าตัวเลขจริงน่าจะสูงกว่านี้ เพราะพบกรณีผู้เสียชีวิตจากโควิดหลายคนไม่ได้ถูกนับรวมเข้าไปในตัวเลขของทางการในหลายพื้นที่ทั่วประเทศ วิกฤตครั้งนี้ทำให้เจ้าหน้าที่สุสานและฌาปนสถานต้องทำงานกันทั้งวันทั้งคืน ฌาปนสถานหลายแห่งเผาศพไม่ทันจนต้องสร้างที่เผาศพชั่วคราวขึ้นเพื่อรองรับกับศพที่หลั่งไหลเข้าไปจำนวนมาก เชื้อกลายพันธุ์ นอกจากอินเดียจะมีอัตราการติดเชื้อสูงแล้ว ก็ยังมีอีกปัจจัยที่น่ากังวล นั่นคือเชื้อกลายพันธุ์...
Read More

ไบเดนเตรียมจัดสรรวัคซีนต้านโควิด-19 AstraZeneca 60 ล้านโดส

ไบเดนเตรียมจัดสรรวัคซีนต้านโควิด-19 AstraZeneca 60 ล้านโดสให้ประเทศขาดแคลน สนับสนุนการเข้าถึงวัคซีนอย่างเท่าเทียม ทางการสหรัฐอเมริกา ภายใต้การนำของประธานาธิบดีโจ ไบเดน ประกาศเตรียมจัดสรรวัคซีนต้านโควิด-19 จาก AstraZeneca 60 ล้านโดสให้บรรดาประเทศขาดแคลนที่กำลังประสบวิกฤต เพื่อสนับสนุนการเข้าถึงวัคซีนอย่างเท่าเทียม โดยในขณะนี้ทางการสหรัฐฯ ยังไม่มีวัคซีน AstraZeneca ภายในสต๊อก คาดว่าจะเริ่มทยอยจัดส่งช่วยเหลือได้ภายในไม่กี่สัปดาห์ข้างหน้านี้จำนวน 10...
Read More

วิธีป้องกัน

วิธีเตรียมตัวฉีดวัคซีนโควิด-19

โดยปกติเมื่อเชื้อโรคทุกชนิดเข้าสู่ร่างกาย ร่างกายจะมีวิธีจัดการเชื้อหลายแบบ หนึ่งในนั้นคือเม็ดเลือดขาวชนิด Macrophage จะกลืนเชื้อเข้าไปและทิ้งเศษซากเชื้อบางส่วนไว้เรียกว่า แอนติเจน (Antigen) ร่างกายจะรับรู้ว่าแอนติเจนคือสิ่งแปลกปลอมและจะสร้างแอนติบอดี (Antibody) มาจัดการสิ่งแปลกปลอมนั้น รวมถึงมีเม็ดเลือดขาวอีกชนิดหนึ่งที่จำว่าเชื้อโรคนี้คือสิ่งแปลกปลอม ถ้าหากได้รับเชื้อในอนาคตร่างกายจะสามารถจดจำและจัดการได้ การทำงานของวัคซีนเป็นไปในลักษณะเดียวกัน วัคซีนป้องกันโควิด-19 จะช่วยกระตุ้นให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันต่อเชื้อไวรัสนี้ขึ้นมา ช่วยป้องกันการติดเชื้อหากได้รับเชื้อในอนาคต แต่ต้องใช้เวลาระยะหนึ่งหลังฉีดวัคซีนร่างกายจึงจะสร้างภูมิคุ้มกันขึ้นมาได้ การฉีดวัคซีนผู้รับวัคซีนยังต้องปฏิบัติตามมาตรการป้องกันโควิด-19 อย่างเคร่งครัด เช่น ใส่หน้ากากอนามัย ล้างมือบ่อย ๆ เว้นระยะห่างทางสังคม เป็นต้น การเตรียมตัวไปฉีดวัคซีนโควิด-19 1.สองวันก่อนและหลังการฉีดวัคซีนให้งดออกกำลังกายหนัก หรือยกน้ำหนัก และนอนพักผ่อนให้เพียงพอ 2.วันที่ฉีดควรกินน้ำอย่างน้อย 500-1,000 ซีซี งดชา กาแฟ หรือของที่มีกาเฟอีน 3.ฉีดแขนข้างที่ไม่ค่อยถนัด และหลังฉีดสองวันอย่าใช้แขนนั้น อย่าเกร็งยกของหนัก 4.หลังฉีดแล้วเจ้าหน้าที่จะให้รอดูอาการในบริเวณที่ฉีด 30 นาที 5.ถ้ามีไข้ หรือปวดเมื่อยมากทนไม่ไหว ก็สามารถทานพาราเซตามอลขนาด 500 มิลลิกรัม ครั้งละหนึ่งเม็ด ซ้ำได้ถ้าจำเป็นห่าง 6 ชั่วโมง ห้ามกินยาพวก Brufen, Arcoxia, Celebrex เด็ดขาด 6.การฉีดวัคซีนโควิดควรห่างกับวัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่อย่างน้อย […]

อ่านต่อ >>

มีวิธีการรับมือจาก COVID-19

COVID-19 โควิด19 ที่กำลังระบาดอยู่ในขณะนี้ มีความรุนแรงเทียบเท่ากับโรคซาร์สมากที่สุด ทำให้ผู้ป่วยมีอาการปอดอักเสบรุนแรงจนถึงแก่ชีวิตได้การรับมือและทำตามข้อควรแนะนำถือเป็นสิ่งสำคํญเป็นอย่างมากเพื่อให้ร่างกายห่างไกลจากเชื้อไวรัสโคโรน่า โดยมีวิธีการรับมือ ดังนี้ เชื้อไวรัสนี้ติดต่อผ่านทางลมหายใจ สารคัดหลั่ง เช่น น้ำมูก น้ำลาย ควรใส่หน้ากากอนามัยเพื่อป้องกัน เชื้อไวรัสโคโรน่าติดต่อในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม เนื้อสัตว์ เช่น เนื้อหมู เนื้อวัว ควรทานแบบสุกเท่านั้น ควรทานอาหารที่สุกแล้ว งดอาหารดิบ และเนื้อสัตว์ป่า หมั่นล้างมือหรือเช็ดด้วยแอลกอฮอล์ ไม่อยู่ใกล้ชิดผู้ป่วยที่ไอ จาม หลีกเลี่ยงการอยู่ในสถานที่แออัด และมีมลภาวะเป็นพิษ งดเดินทางไปยังพื้นที่เสี่ยงโรคระบาด ไม่นำมือมาสัมผัสตา จมูก ปาก ถ้าไม่จำเป็น ไม่ใช้สิ่งของร่วมกับผู้อื่น เช่น ผ้าเช็ดหน้า แก้วน้ำ ฯลฯ ถ้ามีอาการไข้ มีอาการระบบทางเดินหายใจ เช่น ไอ เจ็บคอ ปวดหัว อ่อนเพลีย หายใจเหนื่อยหอบ ให้สวมหน้ากากอนามัย และรีบไปพบแพทย์

อ่านต่อ >>

หากมีอาการโควิด 19 ควรทำอย่างไร ?

หากมีอาการโควิด 19 ควรทำอย่างไร ?

ควรพบแพทย์เพื่อทำการตรวจอย่างละเอียด และเมื่อแพทย์ซักถามควรตอบตามความเป็นจริง ไม่ปิดบัง ไม่บิดเบือนข้อมูลใด ๆ เพราะจะเป็นประโยชน์ต่อการวินิจฉัยโรคอย่างถูกต้องมากที่สุดหากเพิ่งเดินทางกลับจากพื้นที่เสี่ยง ควรกักตัวเองอยู่แต่ในบ้าน ไม่ออกไปข้างนอกเป็นเวลา 14-27 วัน เพื่อให้ผ่านช่วงเชื้อฟักตัว (ให้แน่ใจจริง ๆ ว่าไม่ติดเชื้อโควิด 19) อาการของโรคติดเชื้อไวรัสโควิด-19 มีไข้ 37.5 องศาเซลเซียสขึ้นไป ร่วมกับไอ น้ำมูก เจ็บคอ หายใจเหนื่อยหอบ ไม่มีแรง ปวดเมื่อยทั้งตัว มีความเสี่ยงสัมผัสผู้ติดเชื้อ หรือคลัสเตอร์ มีประวัติการเดินทางไปพื้นที่โรคระบาด เข้ารับการตรวจรับสถานพยาบาลที่รับตรวจ และตรวจซ้ำแล้วไม่มี false positive (recheck ภายใน 24 ชั่วโมง) แยกห้องนอนสิ่งของเครื่องใช้ สวมใส่หน้ากากอนามัย ไปพบแพทย์และปฏิบัติตามคำแนะนำอย่างเคร่งครัด ให้ข้อมูลเพื่อการสอบสวนโรคตามความเป็นจริงเพื่อเป็นประโยชน์ในการจัดการกับโรค กลุ่มเสี่ยงติดเชื้อไวรัสโควิด-19 เด็กเล็ก (แต่อาจไม่พบอาการรุนแรงเท่าผู้สูงอายุ) ผู้สูงอายุ คนที่มีโรคประจำตัวอยู่แล้ว เช่น โรคหัวใจ เบาหวาน โรคปอดเรื้อรัง คนที่ภูมิคุ้มกันผิดปกติ หรือกินยากดภูมิต้านทานโรคอยู่ คนที่มีน้ำหนักเกินมาตรฐานมาก (คนอ้วนมาก) ผู้ที่เดินทางไปในประเทศเสี่ยงติดเชื้อ เช่น จีน เกาหลีใต้ ญี่ปุ่น […]

อ่านต่อ >>

การเตรียมรับมือกับสถานการณ์ไวรัส COVID-19กับ 4 ข้อต้องรู้

การเตรียมรับมือกับสถานการณ์ไวรัส COVID-19กับ 4 ข้อต้องรู้

เนื่องจากสถานการณ์โควิด-19นั้นยังไม่หายไปถึงแม้จะมีวัคซีนแล้วก็ตามแต่ก็เริ่มจะเข้าสู่สภาวะปกติมากขึ้น หลาย ๆ พื้นที่เริ่มกลับมาให้บริการปกติ แต่เราก็อย่าลืมว่า ถึงแม้ตัวเลขผู้ติดเชื้อจะลดลง ก็ใช่ว่าเชื้อไวรัสจะยังไม่มีอยู่ ดังนั้น การที่เรารู้จัก วิธีป้องกันโควิด-19 ไว้นั้นก็จะช่วยลดความเสี่ยงของการติดเชื้อได้ ควรทานอาหารที่ปรุงสุกแล้ว งดอาหารดิบ และเนื้อสัตว์ป่า ต้องใช้ช้อนกลาง เมื่อทานอาหารร่วมกับผู้อื่น หมั่นล้างมือบ่อยๆ ล้างให้สะอาด เพราะถือเป็นหนึ่งในวิธีช่วยป้องกันไวรัส COVID-19 ได้ดีที่สุด สวมใส่หน้ากากอนามัย หลีกเลี่ยงการอยู่ในสถานที่แออัด หรือมีมลภาวะเป็นพิษ งดเดินทางไปยังพื้นที่เสี่ยงโรคระบาด

อ่านต่อ >>
ดูหนังออนไลน์